วิชาเกี่ยวกับเคมี

  • chemistry for M.5

    เนื้อหาเกี่ยวกับเคมีเพิ่มเติมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วย ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมี และกรด-เบส
  • พันธะเคมี

    ศึกษาแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารหรือพันธะเคมี  การเกิดพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลของไฮโดรเจน  กฎออกเตต การเกิดพันธะ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุล โครงสร้างของโมเลกุลโคเวเลนต์ โครงสร้างลิวอิส โมเลกุลโคเวเลนต์ที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต สารโคเวเลนต์ ความรู้เรื่องความยาวพันธะ พลังงานพันธะ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พลังงานพันธะ พลังงานที่เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยา     โครงสร้างของสารโคเวเลนต์ โครงสร้างเรโซแนนซ์ รูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์ จำนวนพันธะ จำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวรอบอะตอมกลาง สภาพขั้ว ทิศทางของขั้วพันธะโคเวเลนต์และโมเลกุลโคเวเลนต์ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงยึดเหนี่ยวโมเลกุล กับจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์ สมบัติที่แตกต่างกันของสารโคเวเลนต์ โมเลกุลไม่มีขั้ว โมเลกุลมีขั้ว โครงผลึกร่างตาข่าย การเกิดไอออน การเกิดพันธะไอออนิก โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก การเปลี่ยนแปลงพลังงาน การเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สมการไอออนิก

    สมการไอออนิกสุทธิ การเกิดพันธะโลหะ ความรู้เรื่องพันะโลหะ สมบัติของโลหะ การเปลี่ยนแปลงพลังงานของสารประกอบไอออนิกเมื่อละลายในน้ำ ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก

              โดยบอกเหตุผล อธิบาย ระบุชนิดพันธะโคเวเลนต์ แสดงโครงสร้างโมเลกุล ยกตัวอย่าง เขียนสูตร เรียกชื่อสาร ใช้ความรู้ระบุชนิดพันธะ ใช้การคำนวณ ทำนาย ระบุชนิดแรงยึดเหนี่ยว บอกสมบัติที่แตกต่างกัน ทดลอง รวบรวมข้อมูล จัดกระทำข้อมูล แปลความหมาย และสรุปผลการทดลอง

    Guest access: พันธะเคมีSelf enrolment: พันธะเคมี